ประเภทโครงการ :
ต่อเนื่อง
ประเภทการให้บริการ :
อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ผลผลิต :
ผลงานการให้บริการวิชาการ
ประเภททุน :
ประเภทสร้างรายได้
งบประมาณ :
83,700.00
แหล่งงบประมาณ :
งบประมาณรายจ่าย
แหล่งทุน :
งบประมาณร่ายจ่ายประจำปี 2562 ไปพลางก่อน
สถานะโครงการ :
ดำเนินการแล้วเสร็จ (ส่งรายงานแล้ว)
วันที่เริ่มโครงการ :
26 กุมภาพันธ์ 2020
วันที่สิ้นสุดโครงการ :
31 มีนาคม 2020
วันส่งมอบงาน :
เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ที่นำไปใช้อบรมหรือถ่ายทอด :
องค์ความรู้และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำหรับพัฒนาเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร
ภาพกิจกรรม :
กลุ่มเป้าหมาย :
กลุ่มเดิม
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย : 60
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม :
60
คน
กลุ่มเป้าหมาย | ที่ตั้งกลุ่มเป้าหมาย | จำนวนผู้เข้าร่วม | ประเภทกลุ่มเป้าหมาย |
วิสาหกิจชุมชนสวนเราเกษตรอินทรีย์ |
บึงบา
หนองเสือ
ปทุมธานี
| 60 | ชุมชน |
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม :
ผู้มีส่วนร่วม | หน้าที่ |
ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย | ผู้รับผิดชอบโครงการ |
อาจารย์จุฑามณี ศรีสุทธิ์ | ผู้รับผิดชอบโครงการ |
ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย | วิทยากร |
ผศ.ดร.สิงห์โต สกุลเขมฤทัย | วิทยากร |
รศ.ดร.อทิพงศ์ บุตรชานนท์ | วิทยากร |
รศ.ดร.ปรเมนทร์ พอใจ | วิทยากร |
ผศ.ดร.อุไรวรรณ อินทร์แหยม | วิทยากร |
ผศ.ดร.นงลักษณ์ พรมทอง | วิทยากร |
ผลการดำเนินโครงการ
รูปแบบการบูรณาการ :
ด้านการเรียนการสอน :
รายวิชา 09412205 คอมพิวเตอร์สำหรับฟิสิกส์ประยุกต์หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ โดยมอบหมายให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ศึกษาค้นคว้าหลักการทำงานของเซนเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น และการสั่งงานผ่านระบบไอโอที เพื่อประดิษฐ์ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นอัจฉริยะผ่านสมาร์ทโฟน จากนั้นทดสอบค่าความแม่นยำและค่าความคลาดเคลื่อนต้องไม่เกินร้อยละ 5 เมื่อเปรียบเทียบเครื่องมือวัดความชื้นที่ขายตามท้องตลาด และสามารถควบคุมได้ทั้งในโหมดสั่งการเอง (manual)และโหมดอัตโนมัติ (auto) และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับผู้เข้าร่วมอบรมได้
ผลลัพธ์ที่ได้คือ
นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการทำงานของเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น
และสามารถประดิษฐ์ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นอัจฉริยะผ่านสมาร์ทโฟน
ที่มีค่าความแม่นยำและค่าความคลาดเคลื่อนไม่เกิน ร้อยละ 5 เปรียบเทียบเครื่องมือวัดความชื้นที่ขายตามท้องตลาดซึ่งผลปรากฎว่านักศึกษาสามารถประดิษฐ์ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่มีค่าความคลาดเคลื่อนไม่เกินร้อยละ 5 ได้ ซึ่งเป็นต้นแบบเพื่อที่จะสามารถนำไปใช้จริงในชุมชนการเกษตร
|
ผลกระทบที่ได้รับจากโครงการ :
ด้านเศรษฐกิจ :
คณะฯ มีเป้าหมายพัฒนาชุมชนบึงบาอย่างต่อเนื่อง โดยจะยกระดับคุณภาพการทำเกษตรจาก Farm 2.0 เป็น Smart Farm 4.0 ภายใต้แนวความคิด Smart Farm For Save Food โดยรวบรวมกลุ่มเกษตรกรที่ปลูกผักเพื่อการบริโภคและการจำหน่าย ผ่านเกษตรกรกลุ่มแกนนำ ที่ได้รับการพัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญจนได้รับมาตรฐาน Organics Thailand เป็นต้นแบบ แต่เนื่องจากสถาการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส Covid-19 คณะฯ จึงดำเนินการได้เพียงบางส่วน ได้แก่ การเก็บตัวอย่างดินและน้ำนำมาวิเคราะห์คุณภาพ การถ่ายทอดความรู้และนวัตกรรมต้นแบบระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นอัจฉริยะผ่านสมาร์ทโฟนด้วยบอร์ด ESP8266 ผ่านแอพลิเคชั่น Blynk โดยจัดทำเป็นสื่อเผยแพร่ใน Youtube และบรรจุในดีวีดีมอบให้กับกลุ่มเกษตรกรอีกด้วย
|
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ทำการเกษตรปลอดภัย ทั้งต่อเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม
|
ผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ :
ลดและใช้ประโยชน์จากของเสีย :
คณะฯ มีเป้าหมายพัฒนาชุมชนบึงบาอย่างต่อเนื่อง โดยจะยกระดับคุณภาพการทำเกษตรจาก Farm 2.0 เป็น Smart Farm 4.0 ภายใต้แนวความคิด Smart Farm For Save Food โดยรวบรวมกลุ่มเกษตรกรที่ปลูกผักเพื่อการบริโภคและการจำหน่าย ผ่านเกษตรกรกลุ่มแกนนำ ที่ได้รับการพัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญจนได้รับมาตรฐาน Organics Thailand เป็นต้นแบบ แต่เนื่องจากสถาการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส Covid-19 คณะฯ จึงดำเนินการได้เพียงบางส่วน ได้แก่ การเก็บตัวอย่างดินและน้ำนำมาวิเคราะห์คุณภาพ การถ่ายทอดความรู้และนวัตกรรมต้นแบบระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นอัจฉริยะผ่านสมาร์ทโฟนด้วยบอร์ด ESP8266 ผ่านแอพลิเคชั่น Blynk โดยจัดทำเป็นสื่อเผยแพร่ใน Youtube และบรรจุในดีวีดีมอบให้กับกลุ่มเกษตรกรอีกด้วย
|